Full press releases about bog news, new data, updated market information

AGRITECHNICA ASIA and HORTI ASIA บุกภาคตะวันออก จัดแสดงสาธิตการใช้เครื่องจักรกลเกษตรในสวนผลไม้ เรียกน้ำย่อยก่อนจัดงานจริงวันที่ 27-29 พฤษภาคม 2564

AGRITECHNICA ASIA and HORTI ASIA บุกภาคตะวันออก จัดแสดงสาธิตการใช้เครื่องจักรกลเกษตรในสวนผลไม้ เรียกน้ำย่อยก่อนจัดงานจริงวันที่ 27-29 พฤษภาคม 2564

12 พฤศจิกายน 2563

วีเอ็นยู เอเชีย แปซิฟิค และ องค์กรการเกษตรแห่งเยอรมัน (DLG) ผู้จัดงานฯ AGRITECHNICA ASIA & HORTI ASIA งานแสดงเทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร และงานแสดงปัจจัยการผลิตทางการเกษตรและนวัตกรรมด้านการปลูกพืชผัก ไม้ผล และดอกไม้แห่งภูมิภาคเอเชีย กลับมาเดินสายประชาสัมพันธ์การจัดงานอีกครั้ง เล็งกลุ่มเป้าหมายชาวสวนภาคตะวันออก ที่มีศักยภาพเป็นแหล่งผลิตผลไม้เมืองร้อนเพื่อการส่งออกที่สำคัญ ระหว่างวันที่ 11-12 ธันวาคม 2563 โดยมุ่งหวังว่าการจัดกิจกรรมสาธิตการใช้เครื่องจักรกลเกษตร จะกระตุ้นความสนใจในการใช้เทคโนโลยีจัดการการผลิตพืช และเพื่อปูทางสำหรับการจัดงานแสดงสินค้าในปีหน้านี้ ทั้งนี้ ผู้จัดงานฯ ได้รับเกียรติ จากคณะกรรมการสมาคมสื่อเกษตรฯ นำโดยนายกสมาคมฯ ดร.อภิวัฒน์ จ่าตา เดินทางเยี่ยมชมงานพืชสวนก้าวหน้า ณ สวนวิจัยพืชสวนจันทบุรี เพื่อสำรวจนวัตกรรมและวิทยาการใหม่ๆ ในวงการพืชสวน ทั้งด้านการผลิต การตลาด และอัพเดทการตอบรับต่อปัญหาในมิติต่างๆ ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน พร้อมทั้งเยี่ยมชมสวนทุเรียนด็อกเตอร์ ของนายกสมาคมทุเรียนไทย พิเศษสุดกับการชมการสาธิตเครื่องจักรกลการเกษตรในสวน ซึ่งจะนำมาจัดแสดงภายในงาน AGRITECHNICA ASIA & HORTI ASIA ระหว่างวันที่ 27-29 พฤษภาคม 2564 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ

เครื่องจักรกลการเกษตรที่สาธิตในครั้งนี้คือ

  • รถตัดหญ้านั่งขับ Atex KaribaO จากประเทศญี่ปุ่น แข็งแกร่งแต่ขับสบาย น้ำหนักเบา และควบคุมง่าย รถตัดหญ้าเอนกประสงค์ที่ใช้งานได้หลากหลายทั้งในสวนผลไม้ สวนปาล์ม สนามหญ้า และอื่นๆ
  • รถพ่นสารกำจัดศัตรูพืช หรือ Maruyama Airblast
  • เครื่องตัดหญ้า Maschio Giraffina ต่อท้ายแทรกเตอร์/ รถพ่นสารกำจัดศัตรูพืช Maschio Gaspardo

คุณวันวิสาข์ วงศ์กาสิทธิ์ ผู้จัดการโครงการ AGRITECHNICA ASIA & HORTI ASIA เผยว่า “นับเป็นอีกหนึ่งปีที่ทางผู้จัดงานฯ ต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายต่างๆ จากปัจจัยที่เราควบคุมไม่ได้ เช่น การระบาดของไวรัสโควิด-19 ซึ่งส่งผลกระทบหลักต่อการจัดงานแสดงสินค้าของเรา จึงมีความจำเป็นที่จะต้องประกาศเลื่อนการจัดงานไปยังปี พ.ศ.2564 ผู้จัดงานฯ จึงปรับกลยุทธ์การจัดงาน โดยเริ่มจัดเสวานาออนไลน์ digital talks ทุกเดือน เดือนละครั้ง เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคมที่ผ่านมา เพื่ออัพเดทสถานการณ์การปลูกพืช เช่น ผัก ผลไม้ ข้าว และอ้อยในแต่ละประเทศในภูมิภาคเอเชีย และให้ความรู้ความเข้าใจเรื่องการปรับใช้เทคโนโลยีเกษตร เพื่อกระตุ้นความ

สนใจอย่างต่อเนื่อง และสร้างแพลตฟอร์มออนไลน์ AGRITECHNICA ASIA & HORTI ASIA digital connect เพื่อเชื่อมโยงผู้ประกอบการ ผู้เชี่ยวชาญ และผู้ซื้อเข้าด้วยกัน โดยผู้ซื้อและผู้ประกอบการสามารถนำเสนอข้อมูลผลิตภัณฑ์ และเจรจาธุรกิจผ่านทางระบบออนไลน์นี้ เราเชื่อมั่นว่าธุรกิจเกษตรของะประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียไม่เคยหยุดนิ่ง และยังคงมีศักยภาพที่จะเติบโต พร้อมที่จะเปิดรับนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในการพัฒนาระบบนิเวศธุรกิจเกษตรอย่างยั่งยืนต่อไป”

ผู้ที่สนใจสามารถลงทะเบียนเข้างาน และดูเสวนาออนไลน์ digital talks ย้อนหลังได้ที่

www.agritechnica-asia.com/digitalconnect หรือ www.horti-asia.com/digitalconnect

แล้วพบกันที่งาน AGRITECHNICA ASIA & HORTI ASIA กำหนดจัดงานระหว่างวันที่ 27-29พฤษภาคม 2564 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ สอบถามเพิ่มเติมโทร. 02-111-6611 ต่อ 230

Review of the latest AGRITECHNICA ASIA digital talks #2

Review of the latest AGRITECHNICA ASIA digital talks #2
Post-harvest Loss Briefing: Technologies and Management
Thursday, 26 November 2020 | Time 3-4 PM (ICT) / 9-10 AM (CET)

 

The AGRITECHNICA ASIA digital talks about Post-Harvest Losses addressed the avoidance of losses by improved process management and handling of crops as well as opportunities to fund projects of cooperation to introduce new technologies.


In an impressive example Dr. Rose Rolle, Senior Enterprise Development Officer at FAO, showed that “as the technology improves we already achieved a 70 – 80 % loss reduction” in mango processing. This was achieved with quite simple technologies, such as washing Mango fruits with warm water to stabilize the fruit skin against damage. Dr. Arshad Ahmad Pal, Postharvest Specialist at the World Vegetable Center India made clear that farmers are not always aware, that already during harvest they have strong impact on the quality of vegetables. “The damage is not visible at that time. But its effects can be seen further down the value chain” and reduces quality and prices for all stakeholders. This means, that “reducing post-harvest loss is not just bringing in new technology. You really have to look in value chain upgrading” added Martin Gummert, Senior Scientist at the International Rice Research Institute (IRRI) from The Philippines. To achieve this, it is clear that money plays a role. Thus, Thomas König, Advisor for Development Cooperation at DLG, Germany, informed that “the German government provides funding addressing both, private investors and NGOs”.


Naturally, the discussion during the talk was about which technology can be introduced and how regional structures influence the success of knowledge transfer and technology awareness. Step into the discussion and get detailed information on technologies and funding tools to reduce post-harvest losses by watching the recorded digital talk.


If you like to listen to the complete discussion of the experts, simply join the AGRITECHNICA ASIA digital community: [https://agritechnica-asia.com/digital-connect/]

 

Review of the Latest Digital Talk: AGRITECHNICA ASIA digital talks #1

AGRITECHNICA ASIA digital talks #1:

Crop Protection under Pressure: How to Deal with it in Practical Farming?
Wednesday, 14 November 2020 | Time 3-4 PM (ICT) / 10-11 AM (CET)

Review of the Latest Digital Talk

Due to new regulations important pesticides like Paraquat and Glyphosate are intended to be banned.

“Farmers are urgently looking for alternatives” said Dr. Klaus Erdle of the DLG Competence Center
Agriculture, Germany.

The global importance of the topic was proven by listeners from Southeast Asia, Africa, Europe, North and South America, who participated in the 1st Digital Talks on October 14th.

Together with additional organizations Dr. Nagavajara Bedinghaus, Executive Director, Thai Agricultural Innovation Trade Association (TAITA), is supporting the government of Thailand “in bringing in the latest technology of crop protection in Thailand and to train the farmers to use it correctly and responsibly”.

At the same time “it is still important to ban very high risk pesticides that are difficult to manage on farm level” stated Dr. Schreinemachers – Lead Scientist of the World Vegetable Center.

As in Germany the discussion on banning Glyphosate is still pending “farmers switch to mechanical weed control” and at the same time “companies are developing a variety of new tools” for a more integrated pest management explained Dr. Rebecka Duecker, Institute of Plant Pathology and Crop Protection Division, University of Goettingen.

“Integrated Pest Management (IPM) is not as easy as using chemical pesticides. However, it is worthwhile and has solved the problems of adverse effects of pesticides” summarized Dr. Nuansri Tayaputch, Expert
Panel on Chemical Review Committee.

If you like to listen to the complete discussion of the experts, simply join the AGRITECHNICA ASIA digital community:

บริษัท วีเอ็นยู เอ็กซิบิชั่นส์ เอเชีย แปซิฟิค จำกัด จะทำการคัดกรองผู้รับเหมาที่จะเข้ามาดำเนินการภายในงานแสดงสินค้าของบริษัทฯ ในทุกงานๆ โดยเริ่มตั้งแต่ปีนี้เป็นต้นไป

New agricultural machinery events in Thailand and Myanmar have equipped farmers with technical knowledge for future farm practices